เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
หน้าแรก หัวข้อข่าว ดาราศาสตร์

ข่าว: ดาราศาสตร์

ดาวหางสีเขียว เริ่มมองเห็นด้วยตาเปล่า เหนือฟ้าเมืองไทย สดร.แนะทิศชม

ดาวหางสีเขียว หรือ ดาวหาง C/2022 E3 (ZTF) เริ่มมองเห็นด้วยตาเปล่าเหนือฟ้าเมืองไทย วันที่ 28 มกราคม 2566 สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์...
ดาวหางสีเขียว

รู้จัก ดาวหางสีเขียว C/2022 E3 (ZTF) โคจรใกล้โลกครั้งแรก รอบ5หมื่นปี

เปิดศักราชใหม่ สดร.ชวนส่องดาวหางสีเขียว C/2022 E3 (ZTF) มาเยือนใกล้โลก จากการโคจรรอบดวงอาทิตย์ รอบหนึ่งใช้เวลาประมาณ 50,000 ปี ใกล้สุดวันที...

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เว็บบ์ เผยภาพประวัติศาสตร์จักรวาลอันล้ำลึก

มันคือของขวัญมูลค่า 10,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (3.469 แสนล้านบาท) สำหรับชาวโลก เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้มนุษย์ได้เห็นภาพจักรวาลของเราได้ลึกล้ำอย...
กรุงเทพ กลางคืน

วันเหมายัน 22 ธ.ค. 2565 กลางคืนยาวนานที่สุดในรอบปี

22 ธันวาคม 2565 "วันเหมายัน" วันที่ช่วงกลางคืนกินเวลายาวนานที่สุดในรอบปี ช่วงกลางวันสั้นที่สุด เพียง 11 ชั่วโมง 19 นาที สถาบันวิจัยดาราศา...

ค้นพบ “ดาวเคราะห์นรก” ร้อนจัด 2,000 องศา 1 ปีมี 18 ชั่วโมง

ทีมนักดาราศาสตร์จากหลายสถาบันวิจัยในสหรัฐฯ เผยผลการศึกษาล่าสุดเกี่ยวกับดาวเคราะห์ประหลาด “แจนส์เซน” (Janssen) หรือ  55 Cancri e โดยพบว่ามันม...

สิ่งมีชีวิตแรกในระบบสุริยะอาจเกิดขึ้นบน ดาวอังคาร ก่อนโลก

ผลการศึกษาหินอุกกาบาตที่มาจาก ดาวอังคาร ชี้ว่า ดาวเคราะห์สีแดงในยุคเริ่มก่อตัว 4,500 ล้านปีก่อน เต็มไปด้วยสารอินทรีย์และน้ำที่สามารถให้กำเนิ...
จักรวาลจำลอง

อนุภาคใน “จักรวาลจำลอง” เกิดขึ้นได้เองจากพื้นที่ว่างเปล่า

ทีมนักวิทยาศาสตร์จากสถาบันฟิสิกส์ทฤษฎีแห่งมหาวิทยาลัยไฮเดลเบิร์กของเยอรมนี ทำการทดลองที่น่าทึ่งด้วยการจำลองสนามควอนตัม (quantum field) ของ จ...

สัญญาณ FRB ประหลาด มาจาก “แมกนีทาร์” ในระบบดาวคู่

ทีมนักวิทยาศาสตร์นานาชาติเผยถึงที่มาของปรากฏการณ์ FRB 20201124A หรือการปะทุสัญญาณวิทยุที่ทรงพลังอย่างฉับพลันจากห้วงอวกาศลึกเมื่อสองปีก่อน โด...
รู้จักและปรากฏการณ์โลกจากการขึ้น-ตกของดวงอาทิตย์ วันศารทวิษุวัต วสันตวิษุวัต เหมายัน ครีษมายัน

วันศารทวิษุวัต เมื่อกลางวันยาวเท่ากลางคืน กับ 3 ปรากฏการณ์สำคัญ

ทำความรู้จัก วันศารทวิษุวัต วันที่กลางวันยาวนานเท่ากลางคืน และอีก 3 ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการขึ้น-ตกของดวงอาทิตย์ วันที่ 23 กันยายน 2...

ดาวยักษ์ใหญ่แดง “บีเทลจุส” ปลดปล่อยมวลครั้งใหญ่จนมืดมัวลง

ที่มาของภาพ, NASA/ESA/STSCI เมื่อช่วงปลายปี 2019 เกิดปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่สร้างความฮือฮาไปทั่วโลก หลังจากดาวฤกษ์ยักษ์ “บีเทลจุส” (...

ข่าวเด่นวันนี้